<font color="red"> เปลี่ยนสีตัวอักษร</font>
ต้องการทำให้ตัวอักษรใหญ่ขึ้น
<font color="red" size="7"> เปลี่ยนสีตัวอักษร เพิ่มขนาดด้วย </font>
2.ตัวเอียง ตัวหนา ขีดเสีนใต้
รูปแบบคำสั่ง :<B>...ข้อความ..... </B> :คำสั่งตัวหนา
<I>...ข้อความ..... </I> :คำสั่งตัวเอียง<U>...ข้อความ..... </U> :คำสั่งขีดเส้นใต้
ตัวอย่างแสดง
ข้อความตัวหนา
ข้อความตัวไม่หนา
ตัวอย่างแสดง
จะเห็นว่า <B></B>ค่อม"ข้อความตัวหนา" อยู่ นั้นคือหากเราให้ข้อความใดมีตัวหนาเราก็นำแทค B ไปใส่ค่อมไว้นั้นเอง
ทำตัวเอียงด้วยแทค i
<HTML>
<Head>
<Title> ดูผลลัพท์ตัวอย่าง </Title>
</Head>
<Body>
<i>ข้อความตัวเอียง</i> ข้อความตัวไม่เอียง
</Body>
</HTML>
<i></i>ค่อม"ข้อความตัวเอียง" อยู่ นั้นคือหากเราให้ข้อความใดมีตัวเอียงเราก็นำแทค i ไปใส่ค่อมไว้นั้นเอง
ทำตัวขีดเส้นใต้ด้วยแทค U
<HTML>
<Head>
<Title> ดูผลลัพท์ตัวอย่าง</Title>
</Head>
<Body>
<U>ข้อความตัวขีดเส้นใต้</U> ข้อความตัวไม่ขีดเส้นใต้
</Body>
</HTML>
ตัวอย่างแสดง
ข้อความตัวขีดเส้นใต้
ข้อความตัวไม่ขีดเส้นใต้
จากตัวอย่างจะเห็นว่า<U></U>ค่อม"ข้อความตัวขีดเส้นใต้" อยู่ นั้นคือหากเราให้ข้อความใดมีตัวขีดเส้นใต้เราก็นำแทค U ไปใส่ค่อมไว้นั้นเอง
ตัวขีดฆ่า ตัวยก ตัวห้อย
รูปแบบ tag code คือ
ตัวขีดฆ่า<del> ข้อความที่ต้องการขีดฆ่า </del>
ตัวยก <sup> ข้อความหรือตัวเลข<sup>ข้อความหรือตัวเลขที่ต้องการยก</sup>
ตัวห้อย <sub> ตัวอักษร,ตัวเลข,ข้อความ<sub>ตัวอักษร,ตัวเลขที่ต้องการห้อย</sub>
ตัวอักษรวิ่ง ตัวอักษรกระพริบ
รูปแบบ tag code คือ
<BLINK></BLINK>
code ที่เขียนใน Notepad
<HTML>
<HEAD>
<TITLE>การกำหนดตัวอักษรกระพริบ</TITLE>
</HEAD>
<BODY> <BLINK>welcome</BLINK>
</BODY>
</HTML>
ผลที่แสดง
3.การทำข้อความวิ่ง
การทำข้อความวิ่งๆ จะช่วยทำให้เว็บไซต์ของเรามีสีสันมากยิ่งขึ้น รู้สึกว่ามีอะไรใหม่ๆอัพเดท ดูไม่จืดชืดดี วิธีทำข้อความวิ่งก็ง่ายมาก ก็เพียงแค่ใช้แท็ก marquee ครอบเข้าไปในตัวอักษรที่ต้องการให้เลื่อน
<marquee>ข้อความวิ่งได้</marquee>
เพิ่มลูกเล่นกันหน่อย โดยกำหนดทิศทางที่ต้องการให้เลื่อนด้วยแอตทริบิวท์ direction
<marquee directi="up"> ข้อความเลื่อนขึ้น </marquee>
4.การจัดตำแหน่งข้อความ
ในการกำหนดตำแหน่งในภาษา HTML สามารถกำหนดได้หลายรูปแบบค่ะ ทั้งแบบกำหนดเป็นแท็ก และการกำหนดเป็น Attribute ของแท็กค่ะ โดยมีรูปแบบดังนี้ค่ะ
1. การกำหนดให้อยู่ตำแหน่งกึ่งกลางด้วยแท็ก Center <center> ...ข้อความ...</center>
2. การกำหนดตำแหน่งโดยใช้ Attribute ของแท็ก <p> โดยใช้ Attribute align รูปแบบดังนี้
<p align = "ตำแหน่ง"> ...ข้อความ...</p>
ตำแหน่งที่สามารถระบุได้ คือ left center หรือ right
รูปแบบการจัดตำแหน่งข้อความ
<html>
<head><title> <head><title> <head><title> <head><title> <head><title> ....การจัดตำแหน่งข้อความ....</title></head>
<body>
<center><font size = "2"> ข้อความนี้อยู่กึ่งกลาง</font></center><br>
<p align = "left"><font size = "2"> ข้อความชิดซ้าย </font></p><br>
<p align = "center"><font size = "2"> ข้อความนี้อยู่กึ่งกลาง </font></p><br>
<p align = "right"><font size = "2"> ข้อความนี้ชิดขวา </font></p><br>
</body>
<body>
<center><font size = "2"> ข้อความนี้อยู่กึ่งกลาง</font></center><br>
<p align = "left"><font size = "2"> ข้อความชิดซ้าย </font></p><br>
<p align = "center"><font size = "2"> ข้อความนี้อยู่กึ่งกลาง </font></p><br>
<p align = "right"><font size = "2"> ข้อความนี้ชิดขวา </font></p><br>
</body>
ที่มา:
https://sites.google.com/site/looyhtmllooy/home/raywicha-kar-srang-websit-doy-chi-phasa-html-khan-sung-rhas-wicha-ng30244/html-khan-sung/kar-kahnd-taw-xaksr-kra-phrib-1
http://www.bloggang.com/mainblog.php?id=nhuy&month=09-12-2008&group=10&gblo
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น